โกรธคือโ ง่ โมโหคือบ้า ไม่โกรธดีกว่า
จะได้ไม่บ้าไม่โ ง่ โกรธเขาเท่ากับจุดไฟเผาตัวเอง อาการที่โกรธเลยทำให้คนที่มีเกียรติทำอะไรที่ถูก รั ง เ กี ย จ
ถูกติเตียนได้หมด เราต้องรู้จักควบคุม รู้จักคิด ถ้าเราใช้อะไรไม่เป็นมันก็กลายเป็นเรื่อง (คำสอนจาก พระ
พยอม เมื่อ 9 กันย ายน 2556)
มาในบทความนี้จะเอ่ยถึงบุคคล 4 ประเภท ที่อย่ าพย าย ามเอาชนะคนจำพวกนี้ เพราะว่าคุณจะ “ไม่มีวันชนะ” มาดูกันเลยว่า
คนทั้ง 4 ประเภทนี้ เป็นคนแบบไหนกันบ้าง
1. โยนความผิด
คนธรรมดาถ้าผิด ก็จะรับได้และใช้มันเป็นบทเรียน แต่ถ้าผิด แล้วโยนความผิดให้คนอื่น เรียกว่า ‘โ ง่’ (แค่นี้ก็ไม่รู้ว่าตัวเองผิด)
2. ถูกเสมอ
อันนี้สืบมากจากข้างบน คือ ยังคิดว่าตัวเองถูกตลอด สังเกตุได้ว่าเวลามีข้อขัดแย้ง
จะเถียงเอาเป็นเอา ต า ย ไม่มีฟังชาวบ้าน ใช้ตรรกะวิบัติ เหตุผลวิบัติไปเรื่อยๆ
3. ก้าวร้าว กลบเกลื่อน
มีวิจัยมาว่าพวกฉลาดน้อยจะก้าวร้าวมากกว่า คือ เมื่อคุมสถานกาณ์ไม่อยู่
จนด้วยเหตุผล อะไรไม่เป็นดังที่คิด จะมีอาการโมโห ก้าวร้าวกลบเกลื่อนหวังสยบให้จบข่าว
4. เหนือตลอด
ไม่ใช่เหนือ-ใต้ แต่เป็นการมองว่าตัวเองดีกว่าคนอื่น เสียดสี ติติงคนอื่นให้ตัวเองดูดี
ตัดสินโดยมีความลำเอียงเกาะติดตลอด มีวิจัยว่าพวกไอคิวต่ำจะรับอะไรได้ย าก
เข้าใจอะไรย าก ไม่เหมือนพวกฉลาดที่พร้อมจะเข้าใจ เห็นใจ ทำอะไรให้ใครช่วยเหลือใครก็ไม่หวังผล
แต่พวกคนโ ง่จะไม่เข้าใจเรื่องแบบนี้ อัตตามันสูง เมื่อให้แปลว่าต้องได้รับตอบแทน
ก็คนอย่ างฉันอุตส่าห์ให้คนอย่ างเธอ ประมาณนั้น เมื่อเจอแบบนี้ วิธีที่น่าจะดี คือ
อย่ า “กดปุ่มโ ง่” คือ ถ้ารู้ว่าโ ง่ ก็อย่ าไปกดปุ่มให้โ ง่ซ้ำๆ เลี่ยงการกดปุ่มเปิดระบบป้องกันตัวและอีโก้โ ง่ๆ
มันไม่มีประโยชน์อะไรกับการเถียงกับคนโ ง่ ถ้าต้องคุย ก็เอาเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวให้ตรงประเด็น หรือ
หยุดได้ก็หยุดดีกว่า เล็งจังหวะที่ควรจะหยุด อย่ าพย าย ามเอาชนะ
เพราะจะไม่มีวันชนะคนโ ง่ และยิ่งบ้าด้วยนี่ ต้องปล่อยให้เป็นไปตามก ร ร ม
จะใช้เหตุผล หลักฐานอะไรมาให้ดูก็คงไม่สน เผลอๆมีท้าทายกลับมา เราจะเสียอารมณ์เองด้วย
เอาเป็นว่า…ขอไม่เจอดีกว่านะ มันเหนื่อย !! หรือถ้าเลี่ยงไม่ได้จริงๆ เรามี 5 เทคนิคเด็ดแนะนำ ให้ลองทำแบบนี้
1. เราเป็นพวกเดียวกันนะ
พย าย ามเข้าใจเหตุผลที่เขาต้องดื้อต้องรั้น และเปิดโอกาสให้เขาได้พูดความจริงที่อัดอั้นว่ากลัวอะไร ต้องการอะไรกันแน่ ปิดบัง
อะไรไว้ ฯลฯ แล้วจึงค่อย ๆ อธิบายเพื่อทำความเข้าใจกับเขา ไปทีละอย่ าง
เพื่อให้เขารู้สึกว่าไม่ได้โดดเดี่ยวหรือถูกกีดกัน ไปเป็นคนอีกประเภทที่ไม่มีใครอย ากคบหา
2. อย่ าบังคับ (เด็ดขาด) อย่ าพย าย ามบอกว่า
ความคิดของคุณดีกว่า แล้วบังคับให้คนหัวรั้นทำตามสิ่งที่คุณต้องการ โดยใช้คำว่า “ต้องทำอย่ างนี้”
และ “ห้ามทำอย่ างนั้น” แต่ควรพูดหว่านล้อมเพื่อโน้มน้าว ให้เขาเปลี่ยนความคิดไปในทิศทางเดียวกับคุณทีละน้อย ๆ
ยิ่งเรื่องที่นำมาพูดเป็นเรื่องที่ถูกจริตของเขาด้วยยิ่งดี สุดท้ายวิธีนี้
จะทำให้เขาค่อย ๆรู้สึกเองว่าสิ่งที่คุณต้องการให้ เขาทำนั้นมันช่าง “ตรงกับความคิด
ตรงกับใจของเขาเหมือนกัน” จึงไม่ย ากเลยที่จะทำ
3. รักษาความสำคัญของเขาเอาไว้
แม้บางทีความคิดเขาอาจไม่ถูกใจคุณหรือไม่เป็นที่ยอมรับของที่ประชุม แต่มันก็อาจไม่ได้แย่ไปทั้งหมดก็ได้
คุณควรให้ความสนใจ และนำความคิดเห็นของเขาไปพิจารณาต่อ
รวมทั้งให้เหตุผลว่ามุมมองของทั้งคุณและเขาถูกเหมือน ๆ กัน ทั้งนี้
เพื่อแสดงให้เขาเห็นว่า เขายังคงมีบทบาทความสำคัญในกลุ่ม หรือองค์กร
และจำเป็นอย่ างยิ่งที่เขาต้องมีส่วนรับผิดชอบ ในความคิดครั้งนั้นด้วย…เป็นการผูกมัดด้วยหน้าที่ไปในตัวไงล่ะ
4. สร้างความมั่นใจให้ดีกว่า
คนหัวรั้นย่อมไม่ต้องการให้ใครมองว่า “มีคนเปลี่ยนแปลงเขาได้นอกจากตัวเขาเอง” ดังนั้นคุณจึงมีหน้าที่ให้ข้อมูลใหม่ๆ
แนะนำแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้เขานำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ เมื่อเขามั่นใจว่า รู้จริง
เขาก็จะกล้าเปลี่ยนแปลงความคิดของตัวเอง เพราะคนเหล่านี้ไม่ต้องการดูเป็นคนไร้ความสามารถในสายตาใคร
5. โน้มน้าวใจซึ่งกันและกัน
นักจิตวิทย าพบว่า ถ้ามีใครสักคนสามารถโน้มน้าวใจคุณได้สำเร็จ ภายหลังหากคุณเป็นฝ่ายขอร้องเขาบ้าง ก็มีแนวโน้มสูงที่คนคนนั้น
จะเปลี่ยนทัศนคติตามคำขอของคุณ เป็นการตอบแทนในลักษณะเดียวกัน
ถ้าคุณเคยปฏิเสธเขามาก่อน ก็มีแนวโน้มสูงว่าเขาจะปฏิเสธคุณกลับมาเช่นกัน
ที่มา : goodlifeupdate