Home ข้อคิดชีวิต บริหารเงินยังไง รายจ่ายก็เยอะ แต่ก็อยากมีเงินเก็บ

บริหารเงินยังไง รายจ่ายก็เยอะ แต่ก็อยากมีเงินเก็บ

5 second read
0
0
584

หลายๆ คน ต้องพบกับปัญหาที่ว่าทำงานได้เงินมาเท่าไหร่ ก็ต้องนำไปชำระหนี้สินจนหมด ทำให้ไม่สามารถออมเงินได้แต่จะมีกี่คนที่รู้ว่าถึงเรามีหนี้ เราก็ควรต้อง

แบ่งเงินเก็บไว้ด้วย เพราะผมพบตัวอย่างคนใกล้ตัวที่มีหนี้ แต่ไม่วางแผนออมเงินไว้เลย ลอง อ่ า น ดูนะครับ…วันหนึ่งลูกชายเพื่อนผมดันขี่มอเตอร์ไซค์ ไปชนท้ายรถ

ราคาแพงคันนึง โชคดีที่เจ้าของรถยนต์เขาเห็น บ า ด เ จ็ บ หนักก็เลยไม่คิดจะเอาเรื่อง แต่ก็ต้องเสียค่า รั ก ษ า พ ย า บ า ล กับค่าซ่อมรถมอเตอร์ไซค์หมดเป็นหมื่น

เพื่อนผมเล่าไปก็ร้องไห้ไปเพราะมันทุกข์ใจว่าหนี้เก่ายังชำระไม่หมด ยังต้องกู้เงินเพิ่มมา รั ก ษ า ลูกอีก ทุกวันนี้อย่าได้คิดถึงการออมเงินเลย เพราะไม่ว่าจะหาเงิน

มาได้เท่าไหร่ก็ต้องนำไปชำระหนี้หมด ชีวิตนี้เป็นหนี้ไม่จบไม่สิ้นสักที และนั่นเป็นจุดเริ่มต้นทำให้ผมต้องเริ่มคิดใหม่!!ผมเริ่มคิดว่าตัวเองมองอะไรพลาดไปหรือเปล่า

นอกจากความรับผิดชอบในการใช้หนี้และสิ่งที่ผมพลาด คือ ลืมคิดถึงแผนสำรองเผื่อช่วงที่เกิดเหตุการณ์ ไม่คาดฝัน เช่น การเกิด
อุ บั ติ เ ห ตุ มันทำให้ผมรู้ว่าคนที่มีหนี้

อย่างน้อยก็ต้องมีเงินออมที่เรียกว่า “เ งิ น ฉุ ก เ ฉิ น” เก็บไว้ด้วยเพราะเงินก้อนนี้นั้นสำคัญกับชีวิตมากจริงๆ มาถึงตรงนี้หลายคนคงคิดว่า “คงเป็นไปไม่ได้หรอกที่จะสามารถ

มีเงินออมได้ ถ้าหากยังมีหนี้สินอยู่”

งั้นเรามาดูวิธีแบ่งเงินใช้หนี้และมีเงินเก็บแบบง่ายๆกันดีกว่า

ซึ่งขั้นตอนแรกนั้น สามารถทำได้ง่ายๆ เริ่มจากการเขียนบัญชีรายรับรายจ่ายเลยครับ! เพราะสามารถทำให้ทุกคนสามารถรู้ได้อย่างแน่นอนว่าเงินที่ได้มานั้น ใช้จ่ายไป

ในเรื่องใดบ้าง เมื่อถึงวันที่เงินเดือนเข้าบัญชีหรือขายของมีรายได้เข้ามา ก็แบ่งเงินเป็น 2 กอง คือ กองที่เก็บและกองที่ใช้

กองที่เก็บ คือ เงินสดสำรอง ฉุ ก เ ฉิ น (จำนวนรายจ่าย ให้อยู่ได้อย่างน้อย1-3เดือน)

กองที่ใช้ คือ ใช้จ่ายหนี้สินและใช้จ่ายส่วนตัว

เทคนิคของผมง่ายนิดเดียวครับ แค่แบ่งเงินเก็บไว้ ก่อนใช้เสมอ ค่อยๆ ออมเงินจนกระทั่งครบตามจำนวนที่ตั้งไว้ เช่น ถ้าเรามีรายจ่ายเดือนละ 10,000 บาท ดังนั้นเงิน ฉุ ก เ ฉิ น

ต้องเตรียมไว้ คือ อย่างน้อย 10,000-30,000 บาทโดยเริ่มต้นแบ่งเงินรายได้มาเก็บทุกเดือน อาจจะเดือนละ 500 – 1,000 บาท จำนวนที่เก็บขึ้นอยู่กับความสามารถ

ของแต่ละคน แต่ผมอยากบอกว่าจำนวนเงินที่เก็บยังไม่สำคัญเท่าวินัยที่จะเก็บให้ได้ทุกเดือน เพราะหากมีวินัย เงินเก็บก็จะค่อยๆ เพิ่มขึ้นจนครบในที่สุดครับหลังจาก

แบ่งเงินเพื่อเก็บแล้ว ก็แบ่งเงินอีกส่วนมาชำระหนี้ ที่มีอย่างสม่ำเสมอทุกงวดจะได้มีประวัติเป็นลูกหนี้ที่ดี สุดท้ายเหลือเงินเท่าไหร่ก็ค่อยเอาใช้ส่วนตัวนะครับ

ผมเสริมเทคนิคอีกนิดครับ ผมลองเอาเงินส่วนที่เหลือนี้ มาหารจำนวนวันที่เหลือก่อนที่เงินของเดือนใหม่จะเข้าบัญชีผมลองตั้งวงเงินใช้จ่ายทั่วไป ให้ตัวเอง 200 บาท

ต่อวันเท่านั้น แต่ผมยังมีเงินเหลือรายวันอีก ถึงแม้จะเหลือไม่เยอะ แต่ผมก็ได้ฝึกวินัยและสามารถ ลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อยได้อย่างมีสติครับ

ทำไมทุกคนควรมีเงินออมหรือที่ผมเรียกว่าเงินสำรอง ฉุ ก เ ฉิ น ? เพราะหากวันใดวันหนึ่งเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันขึ้น อาจจะ บ า ด เ จ็ บ จนไม่สามารถหารายได้

ในแต่ละวันได้ เราก็ยังมีเงินมาพอใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน และเงินออมนั้นยิ่งมีมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งสามารถทำให้เราสบายใจได้มากขึ้นเรื่องแบบนี้มันขึ้นอยู่กับความพอใจ

ของแต่ละคน ซึ่งเงิน ฉุ ก เ ฉิ น ก้อนนี้จะทำให้เรารอดพ้น วิ ก ฤ ต ของชีวิต และทำให้เราไม่เป็นหนี้ก้อนโตเพิ่มนั่นเองครับ

ขอขอบคุณ t i d l o r

Load More Related Articles
Load More By Stay
Load More In ข้อคิดชีวิต

Check Also

นิสัย 9 ข้อไม่ควรมี ถ้าจะเป็นเถ้าแก่เงินล้าน

การจะทําธุรกิจซักอย่างหนึ่งให้ประสบความสําเร็จให้ได้นั้นคุณต้องวางแผนการอย่างรัดกุม ยิ่งถ้…