เริ่มต้นที่การออม
รู้สึกดีใช่ไหม ? เวลาที่เราออมเงินได้ ….หลายคนมีวิธีสร้างแรงบันดาลใจในการออมแตกต่างกันออกไป บางคนหยอดกระปุกออมสิน
บางคนเลือกเก็บเฉพาะแบงค์ 50 เป็นต้น แต่ไม่ว่าจะเป็นการออมด้วยวิธีใดแค่เพียงมีนิสัยรักการออมเราเชื่อว่านั่นเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี
และการออมที่ดีนั้นก็ควรตั้งเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อทำให้เกิดแรงก ร ะ ตุ้ นและอย ากทำให้บรรลุเป้าหมาย บ้ างก็ใช้วิธีหักออมก่อนใช้ไปเลย
แบบหักบัญชีเงินฝากอัตโนมัติทุกเดือนเพื่อฝึกวินัยการออม ตัดปัญหาการใช้จ่ายเกินตัว เพื่อเป้าหมายทางการเงินที่คุณต้องการ
เช่น เก็บไว้ซื้ อของ เก็บไว้เพื่อท่องเที่ยวต่างประเทศแต่ไม่ว่าคุณจะมีเป้าหมายในการออมอย่างไรแล้ว เงินออมอีกก้อนนึงที่เรา
ไม่อย ากให้คุณมองข้ามไป คือ เงินสำรองฉุ ก เ ฉิ น เพราะในชีวิตของคนเราไม่มีอะไรแน่นอน อะไรก็เกิดขึ้นได้ !!
เงินสำรองฉุ ก เ ฉิ นคืออะไร…. ?
คือ เงินสดสำรองไว้สำหรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างฉุ ก เ ฉิ น ไม่คาดฝัน เช่น ตกงานกระทันหัน
เกิดอุ บั ติ เ ห ตุ เ จ็ บ ป่ ว ย ซ่อมรถ ซ่อมบ้ าน เป็นต้นในภาษาอังกฤษนั้นเงินสำรองฉุ ก เ ฉิ นจะใช้สำนวนว่า
“Save it for rainy day” สำนวนนี้เปรียบเปรยได้เห็นภาพค่อนข้างชัดเจน ลองมาคิดเล่นๆว่า ฤดูฝนของคนที่ไม่พกร่มนั้นจะเป็นอย่างไร? แล้วจะดีกว่าใช่มั้ยถ้าเราเตรียมพกร่มอยู่ในกระเป๋า ถึงฝนจะตกหรือไม่ตกแต่เราก็อุ่นใจ
เงินสำรองฉุ ก เ ฉิ นควรมีเท่าไหร่
นักวางแผนทางการเงินให้คำแนะนำว่า เงินสำรองเผื่อฉุ ก เ ฉิ นควรมีประมาณ 3-6 เท่าของค่าใช้จ่ายต่อเดือน เช่น หากเรามีค่าใช้จ่ายเดือนละ 10,000 บาท
เราควรมีเงินสำรองฉุ ก เ ฉิ นประมาณ 30,000 – 60,000 บาท และเงินสำรองฉุ ก เ ฉิ นนั้นควรอยู่ในบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ หรือ อยู่ในสินทรัพย์อื่นๆ ที่มีสภาพคล่องสูง
เงินสำรองย ามฉุ ก เ ฉิ น….ถ้าไม่มีเงินก้อนนี้เลยจะเป็นอย่างไร ?
แม้ว่าเงินสำรองย ามฉุ ก เ ฉิ นนั้นอาจจะไม่ได้เปลี่ยนชีวิตของคุณได้เลยเสียทีเดียว แต่หากเราไม่มีเงินก้อนนี้เลยเราอาจตกอยู่ในสถานการณ์ที่ย ากลำบากได้เหมือนกัน เช่น เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันขึ้น
เราอาจจะต้องเผชิญกับภาวะความเ ค รี ย ดแล้วยังต้องมาเ ค รี ย ดกับปัญหาเรื่องเงินอีก เรื่องมันคงไปกันใหญ่ แล้วหากเราไม่สามารถบริหารจัดการกับการเงินของตัวเองได้
ก็อาจจะต้องไปหยิบยืม หรือกู้หนี้ยืมสิน ดังนั้น การมีเงินสำรองก้อนนี้จะช่วยให้เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือให้เราผ่านพ้นจากเหตุการณ์ฉุ ก เ ฉิ นนั้นๆไปได้อย่างไม่ลำบากจนเกินไป
3 สิ่งควรรู้เกี่ยวกับการเก็บเงินสำรองฉุ ก เ ฉิ น
ออมก่อนใช้… เพื่อสร้างวินัยในการออมอย่างสม่ำเสมอ
ออมเท่าไหร่… เริ่มต้นอาจจะเริ่มออมเดือนละ 10%ของรายได้ก่อน แล้วค่อยออมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเป็น 20% เมื่อพร้อม
ออมไว้ไหน… แหล่งเก็บเงินสำหรับเงินสำรองฉุ ก เ ฉิ นควรจะมีสภาพคล่องสูง เช่น
บัญชีเงินฝากประจำ ตราส า รหนี้ กองทุนระยะสั้น เพื่อความสะดวกในการถอนเงินออกมาใช้หากจำเป็น
เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นได้กับชีวิตคนเราเสมอ แม้ว่าเราจะใช้ชีวิตอย่างระมัดระวังแล้วก็ตาม
การมีเงินสำรองจะช่วยบรรเทาความเดือดร้อนและลดความจำเป็นที่จะต้องไปก่อหนี้ในย ามที่ชีวิตลำบาก…
ที่มา : k n o w l e d g e . b u a l u a n g